25/08/2015
ความรู้ที่ได้รับ
สรุปความรู้จากหนังสือวิทยาศาสตร์
เรื่อง : อากาศ
(สรุปกิจกรรมร่วมกับนางสาว ชนากานต์ แสนสุข)
เด็กๆคุ้นเคยกับสสารนับร้อยๆอย่างโดยผ่านทางประสาทสัมผัส แต่อากาศจะทำให้เด็กแปลกใจเพราะเป็นสิ่งที่มองไม่เห็น แม้ว่ามีอากาศอยู่ตลอดเวลาแต่ก็ไม่อาจสัมผัสได้โดยตรงจนกว่าอากาศจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกับบางสิ่งบางอย่าง
ตัวอย่างกิจกรรมที่เลือก
กิจกรรม : อากาศในถุงหนึ่งทำอะไรได้บ้าง
จุดประสงค์การเรียนรู้ : เพื่อขยายความเข้าใจที่ว่าอากาศมีมวล
วัสดุ : ถุงกระดาษขนาดใหญ่แข็งแรง ลวดสำหรับมัดปากถุง หรือเทปกาว ที่สูบลมล้อจักรยานเป็นแบบมีลูกสูบลมหรือที่สูบแบบใช้มือก็ได้ หนังสือเล่มหนักๆหรือแท่งไม้
ขั้นเตรียมการ : รวบปากถุง มัดด้วยลวดหรือเทป วางถุงไว้บนพื้น เอาหนังสือวางตั้งบนถุงวางที่สูบลมไว้ใกล้ๆดังภาพ
กิจกรรมกลุ่มย่อย
- แสดงวิธีใช้ที่สูบลมให้นักเรียนดูถ้านักเรียนไม่รู้จักหรือใช้ไม่เป็น ให้ดูช่องที่ให้ลมเข้า ลมนี้จะถูกสูบออกโดยที่สูบลม(ถ้าเป็นแบบมีลูกสูบให้เอาสูบที่ปิดออกด้วย) ให้นักเรียนสัมผัสลมที่กำลังถูกสูบออก
- ถาม"นักเรียนคิดว่าถุงที่บรรจุอากาศเต็มนี้จะดันให้หนังสือล้มได้หรือไม่ เราจะหาคำตอบนี้ได้อย่างไร"
- สอดปลายของสายยางลูกสูบเข้าไปในถุง ปิดปากถุงให้สนิทหรือเพียงจับไว้ให้สายยางอยู่ในถุงขณะที่นักเรียนผลัดกันสูบลมเข้าไปในถุงดันให้หนังสือล้มลง "ใช่อากาศไหมที่ทำให้หนังสือล้ม นักเรียนคิดว่าอากาศเป็นสิ่งที่มีจริงหรือไม่แม้ว่าเรามองไม่เห็น" ครูชวนคุยเรื่องของถุงลมนิรภัยในรถยนต์
Skill (ทักษะ)
จากการเข้าห้องสมุดเพื่อหาหนังสือวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กอาจารย์อธิบายความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ทำการเลือกหนังสือให้นักศึกษาอ่านทำความเข้าใจและจับสลากเลือกหน่วยเพื่อทำความเข้าใจในรายละเอียดให้มากขึ้น
Self Evaluation (ประเมินตนเอง)
เข้าเรียนตรงเวลาตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนและอธิบายหาหนังสือตามคำหมอบหมายของอาจารย์
Rated friend (ประเมินเพื่อน)
เพื่อนๆตั้งใจตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนและอธิบายพร้อมค้นหาหนังสือตามที่ได้รับมอบหมายดี
Evaluating teacher (ประเมินอาจารย์)
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อยอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ให้เข้าใจง่ายอย่างชัดเจน
Classroom Assessment (ประเมินในห้องเรียน)
ห้องเรียนมีความสะอาดเย็นสบายเหมาะสมแก่การเรียนและอุปกรณ์ประกอบการสอนใช้งานได้สะดวกห้องสมุดสะอาดเงียบสงบเหมาะแก่การศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
25/08/2015
ความรู้ที่ได้รับ
สรุปความรู้จากหนังสือวิทยาศาสตร์
เรื่อง : อากาศ
(สรุปกิจกรรมร่วมกับนางสาว ชนากานต์ แสนสุข)
เด็กๆคุ้นเคยกับสสารนับร้อยๆอย่างโดยผ่านทางประสาทสัมผัส แต่อากาศจะทำให้เด็กแปลกใจเพราะเป็นสิ่งที่มองไม่เห็น แม้ว่ามีอากาศอยู่ตลอดเวลาแต่ก็ไม่อาจสัมผัสได้โดยตรงจนกว่าอากาศจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกับบางสิ่งบางอย่าง
ตัวอย่างกิจกรรมที่เลือก
กิจกรรม : อากาศในถุงหนึ่งทำอะไรได้บ้าง
จุดประสงค์การเรียนรู้ : เพื่อขยายความเข้าใจที่ว่าอากาศมีมวล
วัสดุ : ถุงกระดาษขนาดใหญ่แข็งแรง ลวดสำหรับมัดปากถุง หรือเทปกาว ที่สูบลมล้อจักรยานเป็นแบบมีลูกสูบลมหรือที่สูบแบบใช้มือก็ได้ หนังสือเล่มหนักๆหรือแท่งไม้
ขั้นเตรียมการ : รวบปากถุง มัดด้วยลวดหรือเทป วางถุงไว้บนพื้น เอาหนังสือวางตั้งบนถุงวางที่สูบลมไว้ใกล้ๆดังภาพ
กิจกรรมกลุ่มย่อย
- แสดงวิธีใช้ที่สูบลมให้นักเรียนดูถ้านักเรียนไม่รู้จักหรือใช้ไม่เป็น ให้ดูช่องที่ให้ลมเข้า ลมนี้จะถูกสูบออกโดยที่สูบลม(ถ้าเป็นแบบมีลูกสูบให้เอาสูบที่ปิดออกด้วย) ให้นักเรียนสัมผัสลมที่กำลังถูกสูบออก
- ถาม"นักเรียนคิดว่าถุงที่บรรจุอากาศเต็มนี้จะดันให้หนังสือล้มได้หรือไม่ เราจะหาคำตอบนี้ได้อย่างไร"
- สอดปลายของสายยางลูกสูบเข้าไปในถุง ปิดปากถุงให้สนิทหรือเพียงจับไว้ให้สายยางอยู่ในถุงขณะที่นักเรียนผลัดกันสูบลมเข้าไปในถุงดันให้หนังสือล้มลง "ใช่อากาศไหมที่ทำให้หนังสือล้ม นักเรียนคิดว่าอากาศเป็นสิ่งที่มีจริงหรือไม่แม้ว่าเรามองไม่เห็น" ครูชวนคุยเรื่องของถุงลมนิรภัยในรถยนต์
Skill (ทักษะ)
จากการเข้าห้องสมุดเพื่อหาหนังสือวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กอาจารย์อธิบายความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ทำการเลือกหนังสือให้นักศึกษาอ่านทำความเข้าใจและจับสลากเลือกหน่วยเพื่อทำความเข้าใจในรายละเอียดให้มากขึ้น
Self Evaluation (ประเมินตนเอง)
เข้าเรียนตรงเวลาตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนและอธิบายหาหนังสือตามคำหมอบหมายของอาจารย์
Rated friend (ประเมินเพื่อน)
เพื่อนๆตั้งใจตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนและอธิบายพร้อมค้นหาหนังสือตามที่ได้รับมอบหมายดี
Evaluating teacher (ประเมินอาจารย์)
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อยอธิบายเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ให้เข้าใจง่ายอย่างชัดเจน
Classroom Assessment (ประเมินในห้องเรียน)
ห้องเรียนมีความสะอาดเย็นสบายเหมาะสมแก่การเรียนและอุปกรณ์ประกอบการสอนใช้งานได้สะดวกห้องสมุดสะอาดเงียบสงบเหมาะแก่การศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น